สรุปผลประเมินการจัดบริการสาธารณะ เทศบาลตำบล ปากน้ำปราณ

บริการสาธารณะ

เกณฑ์ชี้วัด

ค่าเป้าหมาย (%)

กรอบการประเมิน (1)

การจัดบริการสาธารณะ (2)

(2) เทียบ กับ (1) %

ผลการประเมิน

ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน

ภารกิจที่ 1 การก่อสร้างและบำรุงรักษาถนน

1.1 ถนนคอนกรีต และ/หรือลาดยางในความรับผิดชองของเทศบาล ที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 4

1. ร้อยละความยาวของถนนคอนกรีต และ/หรือลาดยาง ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 4 (กม.) (หรือตั้งแต่ชั้นที่ 4 ขึ้นไป)

30

17.904

11.126

62.14

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

1.2 ถนนคอนกรีต และ/หรือ ลาดยางที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 4 ในความรับผิดชอบ ของเทศบาล ที่ได้รับการบำรุงปกติและบำรุงตามกำหนดเวลา

2. ร้อยละความยาวของถนนคอนกรีต และ/หรือลาดยางในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 4 (หรือตั้งแต่ ชั้นที่ 4 ขึ้นไป) ที่ได้รับการบำรุงรักษาทั้งการบำรุงตามปกติและการบำรุงตามกำหนดเวลา (กม.)

60

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

1.3 ถนนที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 5 ในความรับผิดชอบ ของเทศบาล ที่ได้รับการบำรุงปกติและบำรุงตามกำหนดเวลา

3. ร้อยละความยาวของถนนในความรับผิดชอบของ เทศบาล ที่ได้มาตรฐานทางหลวงท้องถิ่นชั้นที่ 5 (ต่ำกว่าชั้นที่ 4 ลงมา) ได้รับการบำรุงรักษาทั้งการบำรุงตามปกติและการบำรุงตามกำหนด เวลา (กม.)

60

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

 

ภารกิจที่ 2 น้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร

2.1 การจัดเตรียมน้ำสะอาดเพื่อบริการประชาชน ในการอุปโภคบริโภคในครัวเรือน

4. ร้อยละของจำนวนครัวเรือนในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีน้ำสะอาดเหมาะสำหรับการอุปโภค และบริโภคอย่างไม่ขาดแคลน (ครัวเรือน)

100

3202

2918

91.13

การพัฒนาในอนาคต

2.2 การเตรียมแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร

5. ร้อยละของปริมาณพื้นที่ทำการเกษตรในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำเพื่อการเกษตร (ไร่)

60

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

2.3 แม่น้ำ คลอง ห้วยที่ได้รับการขุดลอกหรือปรับปรุงให้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ

6. ร้อยละของจำนวนกิจกรรม/โครงการในการพัฒนาหรือปรับปรุงให้แม่น้ำ/คลอง/ห้วย ในความรับผิดชอบของเทศบาล ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ (ทั้งในส่วนที่เป็นงบประมาณของเทศบาล หรือรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น)

80

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

2.4 สระ บ่อ บึง ที่ได้รับการขุดลอกหรือปรับปรุงให้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ

7. ร้อยละของของจำนวนกิจกรรม/โครงการในการพัฒนาหรือปรับปรุงสระ/บ่อ/บึง ในความรับผิดชอบของเทศบาล ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ (ทั้งในส่วนที่เป็นงบประมาณของเทศบาล หรือรับการสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น) (แห่ง)

80

1

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

 

ภารกิจที่ 3 การจัดให้มีหรือบำรุงรักษาไฟฟ้าและความส่องสว่าง

3.1 ถนนสายหลักมีความส่องสว่าง

8. ร้อยละของความยาวถนนสายหลัก ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (กม.)

25

6.055

6.055

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3.2 ถนนสายรองมีความส่องสว่าง

9. ร้อยละของความยาวถนนสายรอง ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (กม.)

25

11.126

4.1

36.85

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3.3 ทางแยก ทางร่วมมีความส่องสว่าง

10. ร้อยละของจำนวนทางแยก ทางร่วม ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

50

3

6

การพัฒนาในอนาคต

3.4 วงเวียนที่มีสัญญาณไฟจราจรมีความส่องสว่าง

11. ร้อยละของจำนวนวงเวียนที่มีไฟสัญญาณจราจร ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

3.5 สวนสาธารณะหรือสถานที่พักผ่อนหย่อนใจมีความส่องสว่าง

12. ร้อยละของจำนวนสวนสาธารณะ หรือสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

3.6 บริเวณตลาด (ในอาคาร) มีความส่องสว่าง

13. ร้อยละของจำนวนตลาดในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีบริเวณตลาด (ในอาคาร) ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

3.7 บริเวณลานตลาด(นอกอาคาร) มีความส่องสว่าง

14. ร้อยละของจำนวนตลาดในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มี บริเวณลานตลาด(นอกอาคาร) ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

70

2

2

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3.8 สนามเด็กเล่นมีความส่องสว่าง

15. ร้อยละของจำนวนสนามเด็กเล่น ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

3.9 ลานจอดรถสาธารณะมีความส่องสว่าง

16. ร้อยละของจำนวนลานจอดรถสาธารณะในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

50

2

2

100

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3.10 สนามกีฬาหรือลานกีฬามีความส่องสว่าง

17. ร้อยละของจำนวนสนามกีฬาหรือลานกีฬาในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

3.11 สะพานมีความส่องสว่าง

18. ร้อยละของจำนวนสะพาน ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

70

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

3.12 จำนวนสะพานลอยคนข้ามมีความส่องสว่าง

19. ร้อยละของจำนวนสะพานลอยคนข้าม ใน ความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีไฟฟ้าส่องสว่าง (แห่ง)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

 

ภารกิจที่ 4 งานวิศวกรรมจราจร

4.1 การซ่อมแซมป้ายจราจร อุปกรณ์อำนวยความสะดวก, หลักกิโลที่ชำรุดเสียหาย

20. ร้อยละของจำนวนป้ายจราจร อุปกรณ์อำนวยความสะดวก หลักกิโล ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ชำรุดเสียหายที่ได้รับการซ่อมแซม ให้กลับมาใช้งานได้เหมือนเดิม (อัน/ชิ้น/จุด)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

4.2 การปรับปรุงเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางที่เสื่อมสภาพ

21. ร้อยละของจำนวนสายทางของถนน ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการปรับปรุงเครื่องหมายจราจรบนพื้นทาง ในกรณีที่มีเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางเสื่อมสภาพ (สายทาง)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

4.3 การแก้ไขสัญญาณไฟจราจร ที่มีปัญหา (อาทิ ดับ กระพริบ ค้าง จังหวะผิดปกติ) ให้สามารถใช้งานได้ปกติ

22. ร้อยละของจำนวนครั้งในการแก้ไขสัญญาณ ไฟจราจร ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มี ปัญหา (อาทิ ดับ กระพริบ ค้าง จังหวะผิดปกติ) ให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ (ครั้ง)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

 

ด้านที่ 2 งานส่งเสริมคุณภาพชีวิต

ภารกิจที่ 5 การส่งเสริมการพัฒนาสตรี

5.1 การส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มสตรี

23. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ และสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มอาชีพที่เทศบาล เป็นผู้รับผิดชอบหรือร่วมดำเนินการกับหน่วยงานอื่น (ครั้ง)

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

5.2 การรวมกลุ่มอาชีพ การสร้างและขยายเครือข่ายสนับสนุนการพัฒนาอาชีพอย่างต่อเนื่อง

24. จำนวนกลุ่มอาชีพที่มีสตรีร่วมกลุ่มที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ อย่างต่อเนื่อง (กลุ่ม)

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

5.3 การพัฒนาฝีมือในการประกอบอาชีพให้กับสตรี

25. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาฝีมือให้กับสตรีที่เทศบาล รับผิดชอบจัดหรือร่วมจัดกับหน่วยงานอื่น (ครั้ง)

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

5.4 มีสตรีเข้าร่วมเป็นประธานคณะกรรมการในกิจการสาธารณะตามหน้าที่ของเทศบาล

26. จำนวนของคณะกรรมการที่มีสตรีเป็นประธานคณะกรรมการในกิจการสาธารณะตามหน้าที่ของเทศบาล (คณะ)

3

3

1

33.33

การพัฒนาในอนาคต

 

ภารกิจที่ 6 การพัฒนาเด็กและเยาวชน

6.1 เด็กเล็กในศูนย์เด็กเล็กได้รับอาหารเสริม(นม) หรืออาหารเสริมอื่นๆ

27. ร้อยละของจำนวนเด็กเล็กในศูนย์เด็กเล็กในเขตพื้นที่เทศบาล ที่ได้รับอาหารเสริม(นม) หรืออาหารเสริมอื่นๆ (คน)

100

60

60

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

6.2 เด็กนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาได้รับอาหารเสริม(นม) หรืออาหารเสริมอื่นๆ

28. ร้อยละของจำนวนเด็กนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาในเขตพื้นที่เทศบาล ที่ได้รับอาหารเสริม (นม) หรืออาหารเสริมอื่นๆ (คน)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

6.3 เด็กในสถานศึกษาสังกัดของเทศบาล ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

29. ร้อยละของจำนวนเด็กในสถานศึกษาสังกัดเทศบาล ที่ได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (คน)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

6.4 กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่บิดา มารดาในการเลี้ยงดูบุตร

30. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่บิดา มารดาในการเลี้ยงดูบุตร ที่จัดขึ้น โดยความรับผิดชอบของเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

6.5 การจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้ได้มาตรฐานขั้นพื้นฐาน

31. ร้อยละของจำนวนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้มาตรฐานตามกำหนดมาตรฐานขั้นพื้นฐาน (แห่ง)

100

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

6.6 เด็กและเยาวชนซึ่งเป็นผู้พิการและด้อยโอกาสที่มีความประสงค์จะได้รับการศึกษา สามารถได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งในระบบ นอกระบบ หรือตามอัธยาศัย

32. ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชนที่พิการ และด้อยโอกาสในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีความประสงค์จะได้รับการศึกษา ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุน หรือประสานงานกับหน่วยงานอื่น เพื่อให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งในระบบ นอกระบบ หรือตามอัธยาศัย (คน)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

6.7 เด็กและเยาวชน (ทั้งใน และนอกระบบการศึกษา) มีการรวมกลุ่มเพื่อจัดทำโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น

33. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น ที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนรวมกลุ่มจัดทำกิจกรรม (ครั้ง)

2

2

8

400

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

34. ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชน (ทั้งในและนอกระบบการศึกษา) ในเขตพื้นที่เทศบาล ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาท้องถิ่น ที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (คน)

20

2637

2000

75.84

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

6.8 เด็กและเยาวชน (ทั้งในและนอกระบบการศึกษา) เข้าร่วมในกิจกรรมทางศาสนา

35. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมทางศาสนาที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม (ครั้ง)

3

3

4

133.33

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

36. ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชน (ทั้งในและนอกระบบการศึกษา) ในเขตพื้นที่เทศบาล ที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (คน)

20

2637

500

18.96

การพัฒนาในอนาคต

6.9 เด็กและเยาวชน (ทั้งในและนอกระบบการศึกษา) เข้าร่วมในกิจกรรมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย

37. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย ที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

4

4

1

25

การพัฒนาในอนาคต

38. ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชน (ทั้งในและนอกระบบการศึกษา) ในเขตพื้นที่เทศบาล ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเล่นกีฬาและการออกกำลังกายที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (คน)

30

2637

200

7.58

การพัฒนาในอนาคต

 

ภารกิจที่ 7 การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

7.1 ผู้สูงอายุต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครองใน 3 เรื่องดังนี้ 1) ด้านสุขภาพ 2) ด้านครอบครัวและการอยู่อาศัย

39. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่แสดงความประสงค์จะขอรับการตรวจสุขภาพประจำปี และได้รับการตรวจสุขภาพ (คน)

100

148

100

67.57

การพัฒนาในอนาคต

3) ด้านความปลอดภัยในชีวิต และเครือข่ายเกื้อหนุน

40. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายให้กับผู้สูงอายุที่จัดโดยเทศบาล หรือมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

41. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่พึ่งตนเองไม่ได้ ได้มีที่อยู่อาศัยหรืออาหารและเครื่องนุ่งห่มตามความจำเป็น (คน)

100

48

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

42. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมที่สร้างความตระหนัก และเห็นคุณค่าผู้สูงอายุของคนในครอบครัวและชุมชนที่จัดโดยเทศบาล หรือมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

43. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการฝึกอบรม ให้ความรู้หรือการส่งเสริมการปฏิบัติงานแก่อาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

44. จำนวนครั้งของการให้บริการชุมชนเคลื่อนที่การบริการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

1

50

การพัฒนาในอนาคต

7.2 ผู้สูงอายุต้องได้รับการช่วยเหลือหรือส่งเสริมให้มีรายได้ มีงานทำ หรือการประกอบอาชีพใน 2 เรื่อง ดังนี้ 1) ด้านการมีรายได้ 2) ด้านการมีงานทำและการประกอบอาชีพ

45. ร้อยละของจำนวนผู้สูงอายุที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับเบี้ยยังชีพตามคุณสมบัติที่กำหนด (คน)

100

872

846

97.02

การพัฒนาในอนาคต

46. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

1

1

2

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

7.3 ผู้สูงอายุต้องได้รับการส่งเสริมให้มีส่วนร่วมทางสังคม ดังนี้ 1) มีกลุ่ม ชมรม หรือสมาคมผู้สูงอายุ 2) มีการจัดกิจกรรมการรวมกลุ่ม ชมรมหรือสมาคมผู้สูงอายุ ที่ได้รับการสนับสนุน

47. จำนวนกลุ่ม ชมรม หรือสมาคมผู้สูงอายุ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล (ชมรม)

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

48. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการรวมกลุ่ม ชมรมหรือสมาคมผู้สูงอายุที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาล (ครั้ง)

1

1

1

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ภารกิจที่ 8 การส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพคนพิการให้สามารถพึ่งตนเองได้

8.1 คนพิการทุกประเภทความพิการได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี

49. ร้อยละของจำนวนคนพิการทุกประเภทความพิการที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ประสงค์ขอรับการตรวจสุขภาพประจำปี และได้รับการตรวจสุขภาพ (คน)

100

6

6

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

8.2 คนพิการ ได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

50. ร้อยละของจำนวนคนพิการที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีความประสงค์จะได้รับการศึกษา ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนหรือประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่อให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งในระบบ นอกระบบ หรือตามอัธยาศัย (คน)

80

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

8.3 คนพิการได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพ อย่างเหมาะสม

51. ร้อยละของจำนวนคนพิการที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ประสงค์ขอรับการฝึกอาชีพได้รับการพัฒนาทักษะอาชีพอย่างเหมาะสม โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย (คน)

80

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

8.4 คนพิการเป็นสมาชิกของ กลุ่มอาชีพ

52. จำนวนกลุ่มอาชีพในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่คนพิการได้เป็นสมาชิก (กลุ่ม)

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

8.5 คนพิการได้รับการจดทะเบียนคนพิการ

53. ร้อยละของจำนวนคนพิการที่อยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการจดทะเบียนคนพิการตามกฎหมาย (คน)

100

172

192

111.63

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

8.6 ศูนย์การเรียนรู้เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาคนพิการในชุมชน

54. จำนวนศูนย์การเรียนรู้เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาคนพิการในชุมชน (แห่ง)

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

8.7 อาคารส่วนราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี การจัดทำห้องน้ำ ทางลาด และ ที่จอดรถสำหรับคนพิการ

55. ร้อยละของจำนวนของอาคารส่วนราชการ ของเทศบาล ที่มีการจัดทำห้องน้ำ ทางลาด และ ที่จอดรถสำหรับคนพิการ (อาคาร)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

8.8 ระบบอาสาสมัครช่วยเหลือคนพิการในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

56. จำนวนอาสาสมัครช่วยเหลือคนพิการที่เทศบาล จัดให้มีขึ้นหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (คน)

10

10

3

30

การพัฒนาในอนาคต

 

ภารกิจที่ 9 การสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเอดส์

9.1 การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้ป่วย โรคเอดส์ที่ยากจนหรือถูกทอดทิ้ง ไม่มีผู้อุปการะและไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้

57. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยเอดส์ที่ยากจนหรือ ถูกทอดทิ้ง ไม่มีผู้อุปการะ และไม่สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองที่ได้รับการลงทะเบียนไว้กับเทศบาล ที่ได้รับเบี้ยยังชีพ (คน)

100

46

45

97.83

การพัฒนาในอนาคต

 

ภารกิจที่ 10 การสาธารณสุขมูลฐาน

10.1 การดำเนินการของเทศบาล ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านโภชนาการ ดังต่อไปนี้

58. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่ และให้ความรู้เรื่องโภชนาการให้กับหมู่บ้านหรือชุมชน ที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น จัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

1) จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เรื่องโภชนาการที่เป็นปัญหาสำคัญในท้องถิ่นให้กับประชาชน 2) เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ ทำการชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินภาวะโภชนาการทุก 6 เดือน

59. ร้อยละของจำนวนเด็กอายุ 0-5 ปี ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่ได้รับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ โดยทำการชั่งน้ำหนักประเมิน ภาวะโภชนาการทุก 6 เดือน (คน)

90

60

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

3) เด็กอายุ 0-5 ปีที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเสริมและคำแนะนำในการแก้ไขปัญหาทางโภชนาการ 4) เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ

60. ร้อยละของจำนวนของเด็กอายุ 0-5 ปี ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ที่ได้รับอาหารเสริม และคำแนะนำ ในการแก้ไขปัญหาทางโภชนาการ (คน)

90

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

61. ร้อยละของจำนวนของเด็กอายุ 0-5 ปี ในความรับผิดชอบของเทศบาล ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (คน) ไม่เกินร้อยละ 7 หรือเด็กสุขภาพปกติ 93%

93

60

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

10.2 การดำเนินการของเทศบาล ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านการแก้ไข/ป้องกันโรคติดต่อ ดังต่อไปนี้ 1) จัดวัสดุอุปกรณ์และ/หรืองบประมาณในการดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ

62. ร้อยละของจำนวนครั้งของการจัดการแก้ไขปัญหาชุมชน/หมู่บ้านที่เกิดปัญหาโรคติดต่อ โดยการจัดให้มีวัสดุอุปกรณ์ และ/หรืองบประมาณ เพื่อป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ (ครั้ง)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

2) กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในท้องถิ่น

63. จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในท้องถิ่นที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

4

4

5

125

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

10.3 การดำเนินการของเทศบาล ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านสุขภาพเด็กและสตรี ดังต่อไปนี้ 1) หญิงมีครรภ์ได้รับความรู้ และคำแนะนำเรื่องการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค

64. ร้อยละของจำนวนของหญิงมีครรภ์ที่ได้รับการฝากครรภ์ในสถานพยาบาลในเขตพื้นที่ของเทศบาล ได้รับความรู้และคำแนะนำเรื่องการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค (คน)

100

15

40

266.67

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

2) หญิงมีครรภ์ ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก โดยในด้านการสอนแนะ ให้คำปรึกษาและจัดการปัญหาเบื้องต้นได้

65. ร้อยละของจำนวนของหญิงมีครรภ์ ที่ได้รับ การฝากครรภ์ในสถานพยาบาลในเขตพื้นที่ของเทศบาล ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก (คน)

100

15

40

266.67

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

3) หญิงหลังคลอด ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก โดยในด้าน การสอนแนะ ให้คำปรึกษาและจัดการปัญหาเบื้องต้นได้

66. ร้อยละของจำนวนของหญิงหลังคลอด ที่ได้รับ การฝากครรภ์ในสถานพยาบาลในเขตพื้นที่ของเทศบาล ได้รับความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของแม่และเด็ก (คน)

100

15

10

66.67

การพัฒนาในอนาคต

10.4 การดำเนินการของเทศบาล ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้ 1) การจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม

67. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อมที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

3

150

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

2) การจัดกิจกรรมลดมลภาวะและส่งเสริมอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

68. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมลดมลภาวะ และส่งเสริมอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่จัดโดยเทศบาล หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

4

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 3 การจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย

ภารกิจที่ 11 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

11.1 การจัดกิจกรรมฝึกซ้อมตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

69. ร้อยละของจำนวนครั้งของการจัดกิจกรรม การฝึกซ้อมตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาล (ครั้ง)

100

3

2

66.67

การพัฒนาในอนาคต

11.2 อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

70. ร้อยละของจำนวนของอาสาสมัครป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยต่อประชาชนในพื้นที่เทศบาล (คน)

2

8295

51

0.61

การพัฒนาในอนาคต

11.3 การบูรณะฟื้นฟูสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และจิตใจที่ได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติ

71. ร้อยละของจำนวนของผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉินในพื้นที่เทศบาล ที่ได้รับการช่วยเหลือและสงเคราะห์ โดยนับจากการสำรวจความเสียหาย เพื่อแจ้งไปยังหน่วยงานที่มีหน้าที่สนับสนุนการจ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (คนหรือครอบครัว)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

11.4 การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย : 1) จำนวนการฝึกอบรมแก่บุคลากรของเทศบาล ให้มีความรู้ในเรื่องการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเบื้องต้นทั้งก่อน ขณะ และหลังเกิดภัย โดยเทศบาล เป็นผู้จัดฝึกอบรมเอง

72. จำนวนครั้งของการฝึกอบรมแก่บุคลากร ของเทศบาล ให้มีความรู้ในเรื่องการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเบื้องต้นทั้งก่อน ขณะ และ หลังเกิดภัย โดยเทศบาล เป็นผู้จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดฝึกอบรม (ครั้ง)

2

2

4

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

2) จำนวนกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

73. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่เทศบาล เกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยเทศบาล เป็นผู้จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดฝึกอบรม (ครั้ง)

2

2

4

200

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

 

ภารกิจที่ 12 การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด

12.1 การป้องกันปัญหายาเสพติด

74. จำนวนครั้งของการจัดโครงการ/กิจกรรมการป้องกันปัญหายาเสพติดที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

4

4

2

50

การพัฒนาในอนาคต

12.2 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

75. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการแก้ไข ปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด โดยเทศบาล ดำเนินการหรือการให้งบประมาณสนับสนุน หรือการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าไปดำเนินการบำบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (ครั้ง)

4

4

2

50

การพัฒนาในอนาคต

12.3การดูแลและติดตามภายหลังการบำบัดรักษาเพื่อป้องกันมิให้ผู้ผ่านการบำบัดกลับไปเสพซ้ำ

76. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมเพื่อการดูแลและติดตามภายหลังการบำบัดรักษาเพื่อป้องกันมิให้ผู้ผ่านการบำบัดกลับไปเสพซ้ำ โดยเทศบาล ดำเนินการ หรือการให้งบประมาณสนับสนุน หรือการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าไปดำเนินการ (ครั้ง)

4

4

1

25

การพัฒนาในอนาคต

 

ด้านที่ 4 การวางแผนส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว

ภารกิจที่ 13 การท่องเที่ยว

13.1 การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว

77. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่จัดโดยเทศบาล หรือมีส่วนร่วมจัดขึ้น (ครั้ง)

3

3

2

66.67

การพัฒนาในอนาคต

13.2 การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

78. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการส่งเสริมให้ประชาชนประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงที่จัดโดยเทศบาล หรือมีส่วนร่วมจัดขึ้น (ครั้ง)

1

1

-

-

ไม่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณพ.ศ.2558

 

ด้านที่ 5 การบริหาร การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ภารกิจที่ 14 การรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขนและการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

14.1 การจัดทำฐานข้อมูลเพื่อวางแผนจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

79. ร้อยละของจำนวนของหมู่บ้านและชุมชนที่มีการจัดทำหรือมีข้อมูลปริมาณขยะมูลฝอย (หมู่บ้าน /ชุมชน)

100

2

6

300

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

14.2 การรณรงค์ลดอัตราการเกิดขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล โดยการส่งเสริมครัวเรือนในการคัดแยกขยะและการส่งเสริมให้นำกลับมาใช้ประโยชน์ เช่น การทำปุ๋ยหมัก เป็นต้น

80. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยในเขตเทศบาล (ครั้ง)

2

2

12

600

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

14.3 การส่งเสริมครัวเรือนในเขตเทศบาล ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

81. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (ครั้ง)

2

2

12

600

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

14.4 การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

82. จำนวนการจัดเก็บขยะมูลฝอยในชุมชนหรือหมู่บ้าน (ครั้ง /สัปดาห์) (กรณีที่เทศบาล มีรถจัดเก็บมูลฝอยหรือมีการจ้างจัดเก็บมูลฝอย)

3

3

7

233.33

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

14.5 มีสถานที่กำจัดขยะและหรือมีสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย

83. ร้อยละของจำนวนของสถานที่กำจัดขยะ และ/หรือ สถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยมีมาตรฐาน ที่กำหนด ตามหลักสุขาภิบาล (แห่ง) (กรณีที่เทศบาล มีสถานที่กำจัดขยะและหรือมีสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย)

100

0

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

14.6 การเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินบริเวณรอบสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย

84. จำนวนครั้งของการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินบริเวณรอบสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย (ครั้ง) (กรณีที่เทศบาล มีสถานที่กำจัดขยะและหรือมีสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย)

4

4

-

-

ไม่มีบริการสาธารณะ

14.7 การเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

85. ร้อยละของจำนวนของชุมชนที่มีโครงการ/กิจกรรม หรือเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนในการจัดการขยะมูลฝอยที่เทศบาล จัดหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ชุมชน)

100

2

6

300

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

 

ภารกิจที่ 15 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

15.1 การจัดกิจกรรมรณรงค์ การปลูกต้นไม้หรือการดูแลรักษาต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวใน เขตเทศบาล

86. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมการรณรงค์ การปลูกต้นไม้ หรือการดูแลรักษาต้นไม้ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเขตเทศบาล ที่เทศบาล รับผิดชอบหรือมีส่วนร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (ครั้ง)

2

2

2

100

เท่ากับค่าเป้าหมาย

 

ด้านที่ 6 ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภารกิจที่ 16 การอนุรักษ์ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

16.1 การจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสืบทอด ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นภายในจังหวัด มีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าครั้งละ 300 คน

87. จำนวนครั้งที่เทศบาล รับผิดชอบหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นในการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและสืบทอดประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญของท้องถิ่น (ครั้ง)

3

3

4

133.33

สูงกว่าค่าเป้าหมาย

88. จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ฟื้นฟูและสืบทอดประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญของท้องถิ่นที่เทศบาล รับผิดชอบหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นจัดขึ้น (คน) (ให้นับรวมจำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมนั้นๆ ตลอดทั้งปีงบประมาณ)

1000

1000

40000

4000

สูงกว่าค่าเป้าหมาย